แนวปฏิบัติการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Routine to Research

แนวปฏิบัติการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Routine to Research

R2R ชื่อเต็ม คือ “Routine to Research” R2R คือ“การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย” ผลลัพธ์ของ R2R คือการพัฒนางานประจำที่ทำทุกวัน ให้เป็นผลงานวิจัย เปลี่ยนปัญหาหน้างาน ให้เป็นผลงานวิจัย
ดังนั้น R2R จึงเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน เพื่อพัฒนางานขับเคลื่อนองค์กร สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)

รายงานการรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลงานวิจัยของ คณาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2553

รายงานการรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลงานวิจัยของ คณาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2553 โดย คณะกรรมการสังเคราะห์งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี สถาบันพระบรมราชชนก สำนักงานปลัดกระทรวง รายงานการรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลงานวิจัยของคณาจารย์วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานีปีการศึกษา 2553โดยคณะกรรมการสังเคราะห์งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี สถาบันพระบรมราชชนก สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข

การจัดการความรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน(PBL) เพื่อพัฒนาส่งเสริมสมรรถะนักศึกษาเพื่อสอบขึ้นทะเบียนขอรับรองใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง

รายงานการจัดการความรู้ โดยการใช้ปัญหาเป็นหลักในการแก้ปัญหาปฏิบัติงาน กลุ่มงานวิชาการ เรื่อง แนวทางส่งเสริมสมรรถนะนักศึกษาเพื่อสอบขึ้นทะเบียนขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อ จัดท าแนวทางส่งเสริมสมรรถนะนักศึกษาเพื่อสอบขึ้นทะเบียน ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง

การจัดการความรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน(PBL) ในการจัดโครงการในปีงบประมาณ 2561 ให้มีการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี เป็นวิทยาลัยฯในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข มี หน้าที่ในการผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของระบบบริการสุขภาพ มี ความสามารถในการ ให้บริการทางการพยาบาลโดยใช้ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลสุขภาพประชาชนตาม ขอบเขตของวิชาชีพ ทั้งนี้ การผลิตบัณฑิตนั้นมีตัวชี้วัดคุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษาของสถาบันที่ส าคัญ คือ ผลการสอบวัดความรู้เพื่อขึ้นทะเบียนขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ของ ผู้ส าเร็จการศึกษาจากสภาการพยาบาล ซึ่งจากผลการสอบในปีที่ผ่านมาย้อนหลัง 10 ปีพบว่า ผู้ส าเร็จ การศึกษาของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี สอบขึ้นทะเบียนขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ ผ่านทุกรายวิชาในการสอบครั้งแรก ส่วนใหญ่ต่ ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้คือร้อยละ 80 ดังตาราง ที่ 1 ซึ่งส่งผลให้ บัณฑิตที่ส าเร็จ การศึกษาโดยที่สอบยังไม่ผ่านนั้นไม่สามารถประกอบอาชีพด้วยบทบาทของพยาบาลวิชาชีพได้ ตาม ความต้องการของประเทศ อีกทั้งยังสะท้อนถึงคุณภาพการจัดการศึกษาของสถาบัน

การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้ปัญหาเป็นฐาน(PBL)ในการพัฒนาอัตลักษณ์นักศึกษา ด้านจิตบริการ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎรธานี เป็นสถาบันการศึกษา ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่จัดการศึกษาตามปรัชญาของสถาบันพระบรมราชชนก ในการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุข ที่มุ่งเน้นชุมชน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น และระบบบริการสุขภาพของ กระทรวงสาธารณสุข มีความเชื่อว่า การพยาบาลเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับผู้ใช้บริการบนพื้นฐาน การดูแลแบบเอื้ออาทร (Caring) ให้การบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Humanized Health Care) และบูรณาการศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการดูแลสุขภาพของบุคคล ครอบครัว ชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพใน การดูแลตนเองภายใต้บริบทและวัฒนธรรมที่หลากหลาย 

การจัดการความรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) การเขียนผลงานวิจัยและผลงานวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

การวิจัยและการผลิตผลงานทางวิชาการเป็นพันธกิจที่ส าคัญพันธกิจหนึ่งของอาจารย์ใน สถาบันอุดมศึกษา ซึ่งสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งอาจมีจุดเน้นในเรื่องการวิจัยที่แตกต่างกันขึ้นกับ สภาพแวดล้อม และความพร้อมของแต่ละสถาบัน อย่างไรก็ตามเพื่อให้การด าเนินการตามพันธกิจนี้ ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิผลและบรรลุตามมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษาจึงต้องมีระบบและกลไก ควบคุมให้สามารถดำเนินการอย่างมีคุณภาพตามจุดเน้นเฉพาะของแต่ละสถาบันเพื่อให้ได้ผลงานวิจัยและ งานสร้างสรรค์ที่เกิดประโยชน์